CPAC Acid Attack Resisting Concrete
โดยปกติคอนกรีตจะมีสภาพเป็นด่าง หรือ ค่า pH ประมาณ 12.5 แต่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นกรดหรือ pH ต่ำกว่า 6.5 คอนกรีตจะเริ่มเกิดความเสียหายขึ้น ตัวอย่างของกรดที่สามารถกัดกร่อนคอนกรีตอย่าง
รุนแรงคือ กรด Carbonic, Hydrochloric, Hydrofluoric, Nitric, Phosphoric, Sulfuric, Acetic, Citric, Humic, Lactic และ Tannic
โดยปกติคอนกรีตจะมีสภาพเป็นด่าง หรือ ค่า pH ประมาณ 12.5 แต่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นกรดหรือ pH ต่ำกว่า 6.5 คอนกรีตจะเริ่มเกิดความเสียหายขึ้น ตัวอย่างของกรดที่สามารถกัดกร่อนคอนกรีตอย่าง
รุนแรงคือ กรด Carbonic, Hydrochloric, Hydrofluoric, Nitric, Phosphoric, Sulfuric, Acetic, Citric, Humic, Lactic และ Tannic
กรดมาจากไหน
1. โรงงานหรือแหล่งผลิตทีมีการใช้กรดในการผลิตหรือได้กรดเป็นผลิตผลจากการผลิต เช่นอุตสาหกรรมผักและผลไม้ดอง อุตสาหกรรมแปรรูปยางพารา เป็นต้น
2. ระบบบำบัดน้ำเสียและท่อระบายน้ำเสียจากบ้านเรือน ซึ่งโดยระบบทางชีวภาพทำให้เกิดกรดซัลฟุริก (H2SO4)
3. ฝนกรด ซึ่งอาจจะมีกรดซัลฟุริก หรืดคาร์บอนิก เป็นต้น
1. โรงงานหรือแหล่งผลิตทีมีการใช้กรดในการผลิตหรือได้กรดเป็นผลิตผลจากการผลิต เช่นอุตสาหกรรมผักและผลไม้ดอง อุตสาหกรรมแปรรูปยางพารา เป็นต้น
2. ระบบบำบัดน้ำเสียและท่อระบายน้ำเสียจากบ้านเรือน ซึ่งโดยระบบทางชีวภาพทำให้เกิดกรดซัลฟุริก (H2SO4)
3. ฝนกรด ซึ่งอาจจะมีกรดซัลฟุริก หรืดคาร์บอนิก เป็นต้น
กรดทำลายคอนกรีตได้อย่างไร
กรดสามารถทำลายสารประกอบแคลเซียมทุกประเภทที่มีอยู่ในคอนกรีต เช่น แคลเซียมซิลิเกตไฮเดรต (C-S-H) แคลเซียมอลมิเนตไฮเดรต (C-A-H) และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)2) โดยส่วนใหญ่แล้ว กรดจะเขาไปทำปฏิกิริยากับสารประกอบแคลเซียมดังกล่าว และได้ผลผลิตเป็นเกลือแคลเซียมซึ่งละลายน้ำได้ง่าย เมื่อสารประกอบแคลเซียมในคอนกรีตถถูกเปลี่ยนไปเป็นเกลือ จะทำให้บริเวณที่ถูกกัดกร่อนสูญเสียความสามารถในการยึดเกาะระหว่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างซีเมนต์เพสต์กับมวลรวม เกลือที่เกิดขึ้นจะสามารถถูกชะล้างออกไปได้ง่าย ทำให้เนื้อคอนกรีตถูกทำลายหายไป และมวลรวมจึงหลุดออกจากคอนกรีตได้ง่าย
กรดสามารถทำลายสารประกอบแคลเซียมทุกประเภทที่มีอยู่ในคอนกรีต เช่น แคลเซียมซิลิเกตไฮเดรต (C-S-H) แคลเซียมอลมิเนตไฮเดรต (C-A-H) และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)2) โดยส่วนใหญ่แล้ว กรดจะเขาไปทำปฏิกิริยากับสารประกอบแคลเซียมดังกล่าว และได้ผลผลิตเป็นเกลือแคลเซียมซึ่งละลายน้ำได้ง่าย เมื่อสารประกอบแคลเซียมในคอนกรีตถถูกเปลี่ยนไปเป็นเกลือ จะทำให้บริเวณที่ถูกกัดกร่อนสูญเสียความสามารถในการยึดเกาะระหว่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างซีเมนต์เพสต์กับมวลรวม เกลือที่เกิดขึ้นจะสามารถถูกชะล้างออกไปได้ง่าย ทำให้เนื้อคอนกรีตถูกทำลายหายไป และมวลรวมจึงหลุดออกจากคอนกรีตได้ง่าย
ผลกระทบต่อคุณสมบัติทางวิศวกรรม
- โครงสร้างสูญเสียกำลังและความแข็งแกร่ง
- ความพรุน และความสามารถซึมผ่านของน้ำในคอนกรีตเพิ่มขึ้น ทำให้ความทนทานลดลง
- ค่า pH ของคอนกรีตลดลงอย่างมาก
- การสูญเสียมวลหรือน้ำหนักคอนกรีต
ความรุนแรงของการกัดกร่อน
ความรุนแรงของการกัดกร่อนจะขึ้นอยู่กับชนิดและความเข้มข้นของกรด กรดที่มีการกัดกร่อนรุนแรง จะเป็นชนิดที่เปลี่ยนสารประกอบแคลเซียมในคอนกรีตไปเป็นเกลือแคลเซียมที่ละลายน้ำได้ง่าย ดังนั้น กรดเกลือ (HCl) จะเป็นกรดที่มีการกัดกร่อนคอนกรีตที่รุนแรงมาก เนื่องจากเกลือแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) สามารถละลายน้ำได้ดีว่าเกลือแคลเซียมที่เกิดจากกรดชนิดอื่นๆ
- โครงสร้างสูญเสียกำลังและความแข็งแกร่ง
- ความพรุน และความสามารถซึมผ่านของน้ำในคอนกรีตเพิ่มขึ้น ทำให้ความทนทานลดลง
- ค่า pH ของคอนกรีตลดลงอย่างมาก
- การสูญเสียมวลหรือน้ำหนักคอนกรีต
ความรุนแรงของการกัดกร่อน
ความรุนแรงของการกัดกร่อนจะขึ้นอยู่กับชนิดและความเข้มข้นของกรด กรดที่มีการกัดกร่อนรุนแรง จะเป็นชนิดที่เปลี่ยนสารประกอบแคลเซียมในคอนกรีตไปเป็นเกลือแคลเซียมที่ละลายน้ำได้ง่าย ดังนั้น กรดเกลือ (HCl) จะเป็นกรดที่มีการกัดกร่อนคอนกรีตที่รุนแรงมาก เนื่องจากเกลือแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) สามารถละลายน้ำได้ดีว่าเกลือแคลเซียมที่เกิดจากกรดชนิดอื่นๆ
CPAC Acid Attack Resisting Concrete คือคอนกรีตพิเศษที่ซีแพควิจัย และพัฒนาขึ้น เพื่อยืดอายุของคอนกรีตในสภาวะกัดกร่อนโดยกรดให้ยาวนานขึ้น ด้วยหลักการลดปริมาณแคลเซียมไฮดรอกไซด์
Ca(OH)2 ในคอนกรีต โดยการผสมวัสดุปอซโซลานที่มีปริมาณ SiO2 สูงมาก เช่น ซิลิกาฟูม ในส่วนผสมคอนกรีตในระดับที่เหมาะสม ประกอบกับการออกแบบส่วนผสมจากทีมวิศวกรผู้เชี่ยวชาญของซีแพคให้มีอัตราส่วนน้ำต่อตัวเชื่อมประสานที่ต่ำที่สุด เพื่อเพิ่มความแน่นของคอนกรีตให้ดีเยี่ยม ซึ่งนับเป็นวิธีการแก้ปัญหาความเสียหายจากการกัดกร่อนโดยกรดที่ต้นเหตุอย่างแท้จริง
Ca(OH)2 ในคอนกรีต โดยการผสมวัสดุปอซโซลานที่มีปริมาณ SiO2 สูงมาก เช่น ซิลิกาฟูม ในส่วนผสมคอนกรีตในระดับที่เหมาะสม ประกอบกับการออกแบบส่วนผสมจากทีมวิศวกรผู้เชี่ยวชาญของซีแพคให้มีอัตราส่วนน้ำต่อตัวเชื่อมประสานที่ต่ำที่สุด เพื่อเพิ่มความแน่นของคอนกรีตให้ดีเยี่ยม ซึ่งนับเป็นวิธีการแก้ปัญหาความเสียหายจากการกัดกร่อนโดยกรดที่ต้นเหตุอย่างแท้จริง
Read more: http://www.vp-concrete.com/th/flake-knowledge-of-concrete/13-acid-resistant-concrete.html#ixzz4MU28IKsr